เพิ่งเห็นผ่าน ๆ ใน feed เกี่ยวกับเรื่องของ DevOpsพบว่าหลาย ๆ ที่จะเรียกว่า DevOops !!มันมีที่มาที่ไปอย่างไรนะ จะหาก็หาไม่เจอเลยนำเอาสิ่งที่เคยเจอมาอธิบายดีกว่าส่วนใหญ่ไม่น่าจะใช่เรื่องจริง !!
Read More…
ใน Docker Desktop 4.22 นั้น ทำการเพิ่ม Experimental features เข้ามาชื่อว่า Resource Saver Mode เป้าหมายเพื่อลดการใช้งาน resource ต่าง ๆ ทั้ง memory และ CPU ของ Dockerรวมทั้งการใช้งาน battery ของเครื่องอีกด้วย
Read More…
จากการมาลองใช้งาน Podman เล่นพบว่ามี project ที่ชื่อว่า Podman composeพัฒนาด้วยภาษา Pythonอธิบายง่าย ๆ คือ Docker compose ที่ทำงานบน Podman นั่นเองซึ่งเราสามารถนำไฟล์ docker compose มา run ได้เลยแต่ไม่ได้ครอบคลุมทั้งหมด มีแต่พื้นฐานเท่านั้นแต่ก็ยังเป็นเครื่องมือที่อำนวยความสะดวกอย่างหนึ่งเช่นกัน
Read More…
ในการจัดการ Docker image นั้น เราจะจัดเก็บไว้ใน Docker registry serverไม่ว่าจะเป็น Docker Hub หรือ ตามระบบต่าง ๆ ทั้ง public และ privateทั้ง on-premise และ on-cloud
Read More…
น่าสนใจดีกับ KIP-932: Queues for KafkaKIP (Kafka Improvement Proposal) นี้ทำการใช้งาน queue ใน Kafka นั่นเองโดยปกติถ้าต้องจัดการ message ที่เข้า Topic ให้ตามรูปแบบของ Queue คือ ที่สำคัญก็ยังต้อง scale ได้ง่าย
Read More…
มาดูความสามารถใหม่ ๆ ที่น่าสนใจใน Docker 24.0.2 กันประกอบไปด้วย
Read More…
พอดีต้องทำงานกับ Vector Database ทั้งPinecone, Milvus, Redis, Elasticsearch และ pgvectorเกิดคำถามว่าคืออะไร ทำงานอะไรได้บ้างเนื่องจากปกติ NoSQL จะรู้จักแค่ key-value, column, document และ graphพอมาเจอ Vector ก็เลยงง ๆดังนั้นทำความรู้จักกันหน่อย
Read More…
ใน Docker นั้นมี management command ใหม่ชื่อว่า initซึ่งอยู่ในสถานะ betaสร้างมาเพื่อให้ง่ายต่อการสร้าง project ที่ต้องใช้งาน Dockerโดยจะทำการสร้างไฟล์ต่าง ๆ ที่จำเป็นให้ ประกอบไปด้วย Dockerfile docker-compose.yml .dockerignore มาลองใช้งานกันดู
Read More…
ใน Docker Desktop 4.18 นั้นมีความสามารถที่น่าสนใจทั้ง Docker init (beta version) สำหรับการสร้างไฟล์ต่าง ๆ ที่ต้องใช้งานให้เลยผ่าน $docker init Container file explorer (GA) Docker Scout Docker Compose watch command (experiment)
Read More…
จากการแบ่งปันเรื่อง Observability ของระบบงานใน Course Microservices workshop ที่ Skooldio มานั้นโดย Observability นั่นประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก ๆ คือ Application metric Distributed tracing Log aggregation ต่อจากนั้นก็เอาไปทำ dashboard และ alert system ได้อีกเพื่อช่วยให้เราสามารถดูได้ว่า application ทำงานอย่างไรมีปัญหาตรงไหนบ้าง ?หรือมีสัญญาณของปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นไหม ?ถ้าเจอแล้ว สามารถเข้าถึงจุดเกิดเหตุได้ง่ายและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
Read More…