เป็นคำถามที่น่าสนใจว่า การ Refactor code ควรหรือไม่ ที่จะอยู่ใน backlogบ่อยครั้งเราจะพบว่า ทำ ๆ ให้มันเสร็จไปก่อน เดี๋ยวไม่ทันส่ง เดี๋ยวเราค่อยกลับมาแก้ไขให้มันดีขึ้นกัน
Read More…
อ่านเจอบทความเรื่อง The continual evolution of Airtable’s codebase: Migrating a million lines of code to TypeScriptทำการอธิบายว่าที่ Airtable ทำการปรับปรุง code กันอย่างไรบ้าง ?กับ code ที่มีกว่า 1 ล้านบรรทัดจาก Vanilla JavaScript ไปยัง TypeScriptตั้งแต่เริ่มจนถึงปัจจุบัน และในอนาคต
Read More…
เรื่องของ Technical Debt หรือ หนี้เชิงเทคนิค มันเป็นสิ่งที่ใช้อธิบายว่า สิ่งที่ทีมพัฒนาสร้างขึ้นมานั้น มันค่อย ๆ ทำร้ายเราเรื่อย ๆ คล้าย ๆ มะเร็งร้าย ถ้าไม่ตรวจร่างกายหรือระบบอยู่บ่อย ๆ แล้ว ผลที่ตามมาคือ อาการจะออกมาเมื่อถึงระยะท้าย ๆ ซึ่งแก้ไขไม่ทันแล้ว !! หรือไม่เช่นนั้น ก็ต้องใช้ค่ารักษาที่สูงมาก ๆ
Read More…
ต่อจากตอนที่ 1 อธิบายเรื่องของการพัฒนาระบบและเขียนการชุดสอบสำหรับ React app ในตอนที่ 2 จะมาอธิบายเรื่อง การปรับปรุงโครงสร้าง code ให้อยู่ในรูปแบบ ELM Architecture ซึ่งมีส่วนการทำงานดังนี้ View Model Update จากนั้นลงมือปรับปรุง code ทีละส่วน แน่นอนว่า ต้องมีชุดการทดสอบด้วยเสมอ ดังนั้นมาเริ่มกันเลย
Read More…
เข้าไปอ่านบทความเรื่อง Refactoring React จาก 8thlight มา ทำการอธิบายเกี่ยวกับการ Refactor หรือการปรับปรุงโครงสร้างของระบบที่พัฒนาด้วย React จาก React แบบปกติ ไปจนถึง ELM Architecture มีความน่าสนใจและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบงานอย่างมาก จึงทำการแปลและสรุปเพื่อเก็บไว้อ่าน รวมทั้งฝึกการเขียน code และชุดการทดสอบไปในตัวอีกด้วย
Read More…
Refactoring เป็นวินัยที่นักพัฒนา software ที่ดีพึงกระทำ เพื่อทำการปรับปรุงโครงสร้าง code ให้ดียิ่งขึ้น โดยไม่ทำการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทำงาน นั่นคือ ถ้าทำงานถูกอย่างไร ก็ต้องถูกอย่างนั้น ถ้าทำงานผิดอย่างไร ก็ต้องผิดอย่างนั้น (จะทำไปทำไม ?)
Read More…
วันนี้ทำการ review code นิดหน่อย พบ code ที่น่าสนใจเยอะพอสมควร หนึ่งในนั้นคือ code เกี่ยวกับการ mapping error code โดยมีขั้นตอนดังนี้ ทำการตรวจสอบว่า Exception แต่ละตัวจากนั้นกำหนด error code ให้ ทำการดึงรายละเอียดของ error ด้วย error code จาก Database !! ปล. ดึงข้อมูลจาก database ไม่ค่อยดีนะ !!
Read More…
ใน code สำหรับ iOS ที่พัฒนาด้วยภาษา Swift นั้น พบว่ามีการเขียน code ในรูปแบบ Singleton เยอะมาก ๆ แน่นอนว่า วิธีการนี้มันมีทั้งข้อดีและข้อเสีย เช่น พัฒนาได้ง่าย ใช้งานง่าย ยากต่อการทดสอบ ยากต่อการ reuse state เปลี่ยนได้ตลอด ขอบเขตการทำงานเป็น global ไป ๆ มา ๆ ข้อเสียเยอะนะเนี่ย !! ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลว่า ทำไมควร ลด ละ เลิก หรือถ้าต้องการใช้งานจริง ๆ ก็ควรระมัดระวังให้มากเข้าไว้ แต่ถ้าเป็น code ที่มีอยู่แล้วละ ? การจะทำการลบ code เหล่านี้ทิ้ง น่าจะเป็นงานช้างแน่ ๆ ดังนั้นเรามาหาวิธีการอยู่กับ Singleton กันเถอะ นั่นคือการ refactor code นั่นเอง [&hellip
Read More…
คำถามที่น่าสนใจสำหรับการ refactor code หรือปรับปรุง code ให้ดีขึ้นว่า ทำไม developer ส่วนใหญ่ถึงกลัวกันนะ ? ไม่ว่าจะเป็น code ของตัวเองหรือ code ของคนอื่น ดังนั้นมาหาเหตุผลของความกลัวกันหน่อย
Read More…
เนื่องจากทำการ review code ของระบบที่พัฒนาด้วยภาษา Swift แล้วพบว่าการสร้าง object บางตัวนั้น สามารถสร้างได้หลายแบบ ทำให้มี constructor จำนวนมาก !! ซึ่งมันเป็น Code Smell อย่างหนึ่ง ดังนั้นได้เวลาปรับปรุง code ให้ดีขึ้นแล้วนะ
Read More…